THE SINGLE BEST STRATEGY TO USE FOR สังคมผู้สูงอายุ

The Single Best Strategy To Use For สังคมผู้สูงอายุ

The Single Best Strategy To Use For สังคมผู้สูงอายุ

Blog Article

ความเสี่ยงด้านสภาพภูมิอากาศกำลังส่งผลต่อการดำเนินธุรกิจ ... อ่านต่อ

ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิจัยประชากรและสังคม (หลักสูตรไทย)

ผศ.ดร.พรรัตน์ แสดงหาญ คณะการจัดการและการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยบูรพา

การเข้าสู่สังคมสูงวัยอย่างมีคุณภาพ คงไม่ใช่มุ่งเน้นเฉพาะกลุ่มเป้าหมายผู้สูงอายุเท่านั้น แต่เป็นเรื่องของคนทุกช่วงวัยที่ต้องเตรียมความพร้อม ต้องตระหนักและสร้างหลักประกันให้กับตนเองทั้งด้านสุขภาพอนามัยที่แข็งแรง การเงินที่มั่นคง การดำรงชึวิตอย่างมีศักดิ์ศรี เพื่อก้าวสู่การเป็นผู้สูงวัยอย่างมีคุณค่าและคุณภาพ

ความหลงใหลในเทคโนโลยี ทำให้ไม่น่าแปลกใจที่ญี่ปุ่นจะหันไปใช้หุ่นยนต์รับมือกับภาวะที่ประเทศเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ

การที่คนในสังคมไม่นิยมมีบุตรทำให้คนวัยทำงานลดลง ซึ่งโดยนัยทางเศรษฐศาสตร์หมายถึงผู้มีกำลังชำระภาษีให้แก่ส่วนกลางย่อมน้อยลง รวมถึงคนที่ทำงาน และช่วยดูแลผู้สูงอายุในอนาคตน้อยลงด้วยเช่นกัน แต่นั่นไม่ควรเป็นเงื่อนไขว่าผู้ดูแลผู้สูงอายุในอนาคตจะหายไป รวมถึงความสุขของผู้สูงอายุด้วย

ไทย...กับการก้าวเข้าสู่สังคมสูงอายุแบบสุดยอดในอัตราที่เร็วกว่าญี่ปุ่น

adapts Its functionality and behavior for monitor-visitors used by the blind people, and for keyboard capabilities utilized by men and women with motor impairments.

นอกจากนี้ยังมีการฝึกอบรมเสริมสร้างศักยภาพ พร้อมแบ่งปันความรู้และประสบการณ์ผ่านกรณีศึกษา สำหรับผู้ประสานงานของประเทศปัจจุบัน   เพื่อสร้างความตระหนักถึงความจำเป็นเร่งด่วนในการดำเนินการร่วมกันเพื่อขับเคลื่อนการสูงวัยอย่างมีสุขภาพดีในทุกด้าน

ผลการเข้าสู่สังคมสูงวัยของประเทศไทยมาจากการเปลี่ยนผ่านทางประชากรทั้งอัตราการเกิด หรือภาวะเจริญพันธุ์ลดลง ภาวะการเสียชีวิตในกลุ่มเด็กและวัยแรงงานลดลงอันสืบเนื่องมาจากการพัฒนาในระบบสาธารณูปโภคพื้นฐาน โภชนาการ การศึกษา เศรษฐกิจและความก้าวหน้าทางการแพทย์ ทำให้ประชากรมีอายุขัยเฉลี่ยมากขึ้น

พระราชบัญญัติการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ การวิจัยและนวัตกรรม พ.ศ. ๒๕๖๒

“จากงานวิจัยในจีน แม้ว่าจำนวนผู้สูงอายุที่ระบุว่าต้องการอยู่ตามลำพังอาจจะมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น แต่เราไม่มีทางรู้ได้ว่า ถ้าเลือกได้ ผู้สูงอายุอยากจะอยู่ตามลำพังจริงไหม และถ้าต้องอยู่ตามลำพัง จะอยู่ได้ไหม งานวิจัยในยุคหลังหันมาให้ความสนใจกับการใช้ชีวิตของผู้สูงอายุตามลำพังมากขึ้น และเน้นไปที่การประดิษฐ์เทคโนโลยีเพื่อช่วยผู้สูงอายุที่อยู่ตามลำพัง เช่น การเปลี่ยนบ้านให้เป็น good home การผลิตเทคโนโลยีขอความช่วยเหลือในกรณีฉุกเฉิน และการติดตั้งอุปกรณ์เพื่อความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินที่ผู้สูงอายุสามารถจัดการได้เอง ในปัจจุบัน การทำบ้านในลักษณะนั้นเป็นเรื่องของตลาด อยากอยู่ต้องมีเงิน แต่ถ้าไม่มีเงิน รัฐควรจะช่วยเหลือหรือไม่ อย่างไร ประเด็นเหล่านี้ต้องไขกันต่อ หากเราต้องการให้ผู้สูงอายุสามารถพึ่งพาตัวเองให้ได้มากที่สุดและนานที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้”

ดร.นพพล กล่าว “ในประเทศที่สวัสดิการรัฐยังดีไม่พอ เช่นประเทศไทย ครัวเรือนจึงต้องแบกรับภาระการดูแลผู้สูงอายุแทนรัฐ การมีบุตรจึงสำคัญ”

จากโครงสร้างประชากรที่เปลี่ยนไป ชีวิตของผู้สูงวัยไทยในวันนี้และวันหน้าจะเป็นอย่างไร คนไทยและสังคมไทยเตรียมความพร้อมไว้แค่ไหน อะไรคือสิ่งที่ทุกฝ่ายควรเตรียมความคิดและลงมือทำ รองศาสตราจารย์ ดร.นพพล วิทย์วรพงศ์ คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วิเคราะห์สถานการณ์ปัจจุบันและอนาคตในมุม “เศรษฐศาสตร์” สังคมผู้สูงอายุ เพื่อให้ทุกฝ่ายทั้งภาคประชาชน เอกชน และรัฐ เตรียมการรับมือผลกระทบที่กำลังเกิดขึ้น เพื่อสร้างความสุขและคุณภาพชีวิตในบั้นปลายของทุกคนที่กำลังจะเป็นผู้สูงวัยในวันหน้า

Report this page